วันอังคาร, ธันวาคม ๒๕, ๒๕๕๐

สรุปบทที่ 2 และบทที่ 3

สรุปบทที่ 2
โปรโตคอลและIP Address

โปรโตคอล คือระเบียบวิธีที่กำหนอดขึ้นสำหรับสื่อสารข้อมูล โดยสามารถส่งผ่านข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

โปรโตคอลมีหลายประเภท เช่น IPX/SPX , NetBEUI , Apple Talk , TCP/IP เป็นต้น
IP Address จะถูกกำหนดให้แต่ละเครื่องหรือแต่ละอุปกรณ์ ซึ่งจะมีไม่ซ้ำกัน และไม่ผูกติดกับฮาร์ดแวร์อย่างใด และจะแตกต่างกับ MAX Address โดยค่า MEX Address จะเป็นค่าหมายเลขประจำตัวของอุปกรณ์ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยจะถูกกำหนดโดยบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ตั้งแต่เริ่มผลิต ไม่สามารถแก้ไขได้
Loop back address เป็นแอดเพรสที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้งานที่ต้องการให้ process หนึ่ง ติดต่อกับ process อื่นๆ ในเครื่องเดียวกันผ่าน IP Address โดยมีการกำหนด IP Address พิเศษให้เป็น Loop back address เป็นสาม class มี class A , B , C โดยมีการแบ่งค่าตามหมายเลขเครือข่าย และหมายเลขเครื่องลูกข่าย ในแต่ละลำดับชั้นของเครือข่ายในคลาส
Subnet เป็นการแบ่งเครือข่ายออกเป็นเครือข่ายย่อยๆ และทำให้การกำหนดใช้งาน IP Address ที่ได้รับสามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆ เหมาะสมกับอุปกรณ์ในแต่ละเครือข่าย และแบ่ง IP Address ส่วนที่ไม่ได้ใช้ให้หน่วยงานอื่นหรือเครือข่ายอื่น
Multicast Address เกิดจากที่ว่าเครือข่ายใน Class D ทำหน้าที่เป็น Multicast Address โดยแบ่งกลุ่มย่อยๆ ซึ่งสมาชิกในกลุ่มจะรับข้อมูลที่ถูกส่งออกมาให้ในระหว่างเครือข่าย
Data Pecket เป็นการทำให้ข้อมูลมีขนาดเล็กลงโดยแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ เมื่อมีการรับส่งข้อมูลกันในระหว่างเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สรุปบทที่ 3

โครงสร้างของโปรโตคอล TCP/IP
โปรโตคอล TCP เป็นโปรโตคอลที่มีการรับส่งข้อมูล หมายความว่า การรับส่งข้อมูลจะไม่คำนึงถึงปริมาณข้อมูลที่ส่งไป แต่จะแบ่งข้อมูลเป็นส่วนที่ย่อยก่อน แล้วจึงจะส่งไปยังปลายทางอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่งถูกหายไป
โปรโตคอล UDP การรับส่งข้อมูลของ UDP จะเป็นแบบที่ทั้งสองด้านไม่จำเป็นต้อฃอาศัยการสร้างซ่องทางเชื่อมต่อกัน ระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บริการกับเครื่องที่ขอใช้บริการ โดยไม่ต้องแจ้งให้ผ่ายรับส่งข้อมูลนั้นๆด้วย
Host-to-Host layer จะมีการสร้าง Connection หรือการเชื่อมต่อกันระหว่างแอพพลิเคชั่นกับ Host-to-Host layer แอพพลิเคชั่นหรือโปรเซสต่างๆสื่อสารกับ Host-to-Host layer ผ่านจุดเชื่อมต่อไว้ใช้งาน เมื่อแอพพลิเคชั่นทำงานผ่านโปรโตคอลในชั้น Process layer จะมีการส่งผ่านข้อมูลไปยัง Host-to-Host layer ที่ชั้นนี้จะมีการเชื่อมต่อผ่าน Port ที่กำหนด ทำให้การรับส่งข้อมูลในแต่ละโปรโตคอลทำได้ถูกต้อง ถึงแม้ว่าในเครื่องเชิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการจะมีการทำงานอยู่หลายโปรเซสที่แตกต่างกันก็ตาม
โปรเซสต่างๆที่เรียกใช้ Transport layer เพื่อส่งผ่านข้อมูลโดยอาศัย Port ซึ่งใช้ในแต่ละโปรเซสจะเรียกใช้งาน Port เฉพาะแตกต่างกัน ยกเว้น DNS ที่สามารถใช้งานได้ทั้ง TCP และ UDP
โปรโตคอล TCP เป็นโปรโตคอลที่มีการส่งข้อมูลแบบ stream oriented protocol หมายความว่าการรับส่งข้อมูลจะไม่คำนึงถึงปริมาณข้อมูลที่จะส่งไป แต่จะแบ่งข้อมูลที่จะส่งไป แต่จะแบ่งข้อมูลเป็นย่อยๆก่อน แล้วจึงส่งไปปลายทางอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับข้อมูล กรณีที่ข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
รูปแบบของ UDP Packet จะมีฟิลด์ข้อมูลส่วน header น้อยมากและไม่มีข้อมูล ส่วนการตรวจสอบข้อมูล UDP มีขนาดเล็กและใช้หน่วยความจำทรัพยากรระบบน้อย


ไม่มีความคิดเห็น: